TUFS Language Modules

解説

   คำกริยาที่มีรูปแบบการเน้นเสียงแบบเสียงสูงลงต่ำ ในรูปพจนานุกรมตำแหน่งแกนเสียงจะอยู่ที่พยางค์ที่ 2 นับจากข้างหลัง(เน้นเสียงแบบ -2)  ตัวอย่างเช่น 「う(会う)」・ 「る(見る)」・ 「べる(食べる)」เป็นต้น   มีบ้างแต่ไม่มากที่เน้นเสียงแบบ -3  ( 「うす(申す)」・ 「おる(通る)」・ 「おす(通す)」・ 「いる(入る)」・ 「いる(参る)」・ 「える(帰る)」  ซึ่งคาดว่าอาจเนื่องมาจากพยางค์ที่ 2 นับจากข้างหลัง เป็นพยางค์พิเศษทำให้แกนเสียงเลื่อนไปข้างหน้า 1 พยางค์)

กริยาที่มีรูปแบบการเน้นเสียงแบบเสียงสูงลงต่ำที่อยู่ในรูป 「〜て」 แกนเสียงจะอยู่ที่พยางค์ที่ 2 ข้างหน้า「て」 (เช่น :「う(会う)」→ 「って」、 「る(食べる)」→ 「べて」) ยกเว้นกรณีที่ พยางค์ที่ 2 ข้างหน้า「て」เป็นพยางค์พิเศษ  ซึ่งไม่สามารถทำหน้าที่เป็นแกนเสียงได้  จะเลื่อนไปข้างหน้า 1 พยางค์(เช่น : 「える(帰る)」→ 「えって」) 
   นอกจากนี้  กริยาที่เดิมมีเพียง 2 พยางค์   แกนเสียงจะอยู่ที่พยางค์ข้างหน้า 「て」 (เช่น: 「る(見る)」→ 「」)  กรณีที่เป็นรูป 「〜ない」กับรูป「〜ないで」 แกนเสียงจะตกที่พยางค์ที่อยู่หน้า 「な」 (ตัวอย่าง: 「る(食べる)」→ 「ない」 「ないで」、 「う(会う)」→ 「ない」 「ないで」、 「える(帰る)」→ 「えらない」 「えらないで」)
กริยาในรูป「〜ます」ทุกตัว แกนเสียงจะอยู่ที่ 「ま」