TUFS Language Modules

解説

   รูปแบบการเน้นเสียงของคำประสมที่เกิดจากคำนาม 2 คำรวมกันเป็นคำใหม่  จะมีรูปแบบการเน้นเสียงไม่เหมือนกันคำเดี่ยว 2 คำ  เวลาที่พูดแยกทีละคำก็จะมีแกนเสียงของแต่ละคำ แต่เมื่อประสมเป็นคำเดียวกันแล้วรูปแบบการเน้นเสียงจะเปลี่ยนไป เพราะในคำนาม 1 คำจะมีแกนเสียงได้เพียงแค่ 1 ตำแหน่งเท่านั้น  ตัวอย่างเช่น 「春休み」「る(春)」และคำหลังคือ「すみ(休み)」 รูปแบบการเน้นเสียงจะไม่ใช่「るやすみ」 แต่เป็น 「るやす
   รูปแบบการเน้นเสียงคำนามประสมจะมีกฎเกณฑ์ในระดับหนึ่ง  ขั้นแรกให้จำกฎ จากนั้น กรณีที่ไม่เป็นไปตามกฎค่อยจำไปทีละคำ จะทำให้เรียนรู้ได้ไม่ยาก  ตารางต่อไปนี้เป็นกฎการออกเสียงคำนามประสม


จำนวนพยางค์ของคำหลัง

เงื่อนไข

รูปแบบการออกเสียงคำนามประสม

ตัวอย่าง

หากคำหลังมี
1 พยางค์หรือ 2 พยางค์

คำส่วนใหญ่

แกนเสียงจะอยู่ที่พยางค์สุดท้ายของคำหน้า(ยกเว้น หากพยางค์นั้นเป็นพยางค์พิเศษ จะเลื่อนไปข้างหน้า 1พยางค์)

うべ+→こうべし(神戸市)
んだい+→せんだいし(仙台市)
ぶや→しぶやく(渋谷区)
うとう→こうとうく(江東区)
んじゅくき→しんじゅくえき

うきょうき→とうきょうえき

ส่วนน้อย(เช่นคำที่ตามหลังเป็น:「語」「色」「課」
「中」「科」「家」
「製」「代」「的」
เป็นต้น)

แบบเสียงเรียบ

ちゅうごく+→ちゅうごくご(中国語)
どり+い→みどりいろ(緑色)
くせい→がくせいか(学生課)
ぜん+ちゅう→ごぜんちゅう(午前中)

หากคำหลังมี
3 พยางค์หรือ 4 พยางค์

คำหลังเป็น แบบเสียงเรียบ กับ แบบหางสูง

แกนเสียงจะอยู่ที่พยางค์แรกของคำหลัง

んな+ことば→おんなことば(女言葉)
+やすみ→なつやすみ(夏休み)
ロ+やきゅう→プロやきゅう(プロ野球)

คำหลังเป็น แบบหัวสูง กับ แบบกลางสูง

แกนเสียงเหมือนกับคำหลัง

さ+はん→あさごはん(朝御飯)
りつ+としょかん→しりつとしょかん

หากคำหลังมี
5 พยางค์ขึ้นไป

คำส่วนใหญ่

แกนเสียงเหมือนกับคำหลัง

まだ+しょうがっこう→やまだしょうがっこう(山田小学校)
んじょうび+プゼント→たんじょうびプレゼント(誕生日プレゼント)